Please use this identifier to cite or link to this item:
https://kkbsrs.kku.ac.th/jspui/handle/123456789/158
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อารีย์, นัยพินิจ | - |
dc.contributor.author | สุกานดา, นาคะปักษิณ | - |
dc.contributor.author | ภัทรขวัญ, พิลางาม | - |
dc.contributor.author | ภัทรวดี, เพิ่มวณิชกุล | - |
dc.contributor.author | เทียนทิพย์, บัณฑุพาณิชย์ | - |
dc.contributor.author | เกศินี, วิเชียรชัย | - |
dc.contributor.author | พิไลวรรณ, ปักเคนัง | - |
dc.contributor.author | ปฏิพัทธ์, พองพรหม | - |
dc.contributor.author | ประกายทิพย์, แสงชาย | - |
dc.contributor.author | รตินันท์, อินทร์มณี | - |
dc.date.accessioned | 2021-10-27T08:50:44Z | - |
dc.date.available | 2021-10-27T08:50:44Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.uri | https://kkbsrs.kku.ac.th/jspui/handle/123456789/158 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง “การปรับปรุงและพัฒนาร้านค้าปลีก : กรณีศึกษา ร้านต้นอ้อยมินิมาร์ท” จังหวัดขอนแก่น เป็นการศึกษาเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาร้านค้าปลีกให้สามารถอยู่รอดได้อย่างเข้มแข็ง ในสภาวะการแข่งขันที่สูงและในสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและมีการสัมภาษณ์เพิ่มเติมเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถามประกอบด้วย 2 ฉบับ ได้แก่ แบบสอบถามสำหรับผู้ประกอบการและแบบสอบถามสำหรับลูกค้า จากแบบสอบถามสามารถจำแนกกลุ่มตัวอย่างออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ผู้ประกอบการ จำนวน 3 คน และการสุ่มลูกค้าแบบไม่เจาะจง จำนวน 30 คน ซึ่งเป็นผู้ที่ประกอบธุรกิจอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับร้านต้นอ้อยมินิมาร์ท ในระยะ 200 เมตร ผลการวิจัย การปรับปรุงและพัฒนาร้านต้นอ้อยมินิมาร์ท จังหวัดขอนแก่น พบว่า 1. การปรับวิธีการจัดเรียงสินค้า โดยการปรับเปลี่ยนพื้นที่ในการจัดวางให้เหมาะสม พร้อมทั้งปรับรูปแบบการจัดวางสินค้าตามสายสายการผลิต ทำให้เพิ่มความสะดวกในการหยิบจับสินค้าของลูกค้า ส่งผลให้ระยะเวลาในการซื้อสินค้าของลูกค้าลดลงเฉลี่ย 1 นาที 2. กำหนดกลยุทธ์เพื่อสร้างความได้เปรียบ ได้แก่ การรับประกันสินค้า การให้เครดิตแก่ลูกค้าประจำ การให้ส่วนลดเงินสดแก่ลูกค้า รวมถึงการขยายช่องทางการบริการทางออนไลน์ และการทำกิจกรรมส่งเสริมทางการตลาดแต่ละช่วงเวลาให้เหมาะสม ร้านค้ามียอดขายเพิ่ม 25 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น จากแบบสอบถามการวัดระดับความพึงพอใจลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการที่ร้านต้นอ้อยมินิมาร์ท พบว่า ลูกค้ามีความพึงพอใจ ร้านค้าสะอาด การจัดเรียงสินค้ามีความเป็นระเบียบสามารถหาสินค้าที่ต้องการได้ง่าย และสะดวก แสงสว่างภายในร้านเพียงพอสามารถมองเห็นสินค้าได้ชัดเจน และการมีโปรโมชันส่งเสริมการขายเพิ่มขึ้น | en_US |
dc.description.uri | https://casjournal.cas.ac.th/detiajournal.php?id=1027&position3=3&position=10&idupdate=24 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | College of Asian Scholars Journal | en_US |
dc.subject | ร้านค้าปลีก | en_US |
dc.subject | กรณีศึกษา | en_US |
dc.title | การปรับปรุงและพัฒนาร้านค้าปลีก : กรณีศึกษา ร้านต้นอ้อยมินิมาร์ท | en_US |
dc.title.alternative | Improvement and Development the Retail Shop : A case study of Ton Aoy Minimart | en_US |
dc.email.author | arekul@kku.ac.th | en_US |
dc.skill.author | การจัดการ การประกอบการพาณิชย์ และนวัตกรรม | en_US |
Appears in Collections: | Management Entrepreneur Commercial and Innovation |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การปรับปรุงและพัฒนาร้านค้าปลีก กรณีศึกษา ร้านต้นอ้อยมินิมาร์ท.pdf | 190.14 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.